ค้นหา
  
Search Engine Optimization Services (SEO)

มนูญ รูปขจร

พลตรี มนูญกฤต รูปขจร อดีตประธานวุฒิสภาและอดีต ส.ส.ระบบสัดส่วนพรรคประชาธิปัตย์ เดิมมีชื่อว่า "มนูญ" เกิดเมื่อวันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2478 จบการศึกษาวิทยาศาสตรบัณฑิตจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ารุ่นที่ 7 (จปร.7) จากนั้นได้ไปเรียนหลักสูตรผู้บังคับกองร้อยที่จังหวัดสระบุรี มีผลการเรียนดีด้วยการสอบได้ที่ 1 และได้ทุนไปเรียนต่อที่ฟอร์ตนอกซ์ สหรัฐอเมริกา จึงได้รู้จักกับ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์

จากนั้นจึงกลับมารับราชการครั้งแรกในตำแหน่งผู้บังคับหมวดอาวุโสที่กรมทหารม้าที่ 1 รักษาพระองค์ (ม.1 รอ.) ในปี พ.ศ. 2509 พล.ต.มนูญกฤตเริ่มเข้ามามีส่วนร่วมในการเมืองด้วยการเป็นคนสนิทของ พล.อ.ฉลาด หิรัญศิริ รองผู้บัญชาการทหารบก และ พล.อ.กฤษณ์ สีวะรา อดีตผู้บัญชาการทหารบกและรัฐมนตรีว่าการและช่วยว่าการหลายกระทรวง

หลังการรัฐประหาร 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519 พล.ต.มนูญกฤตได้รับแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งสมาชิกสภาปฏิรูปแผ่นดิน และเป็นสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งชาติ พ.ศ. 2520 แต่ในเหตุการณ์กบฏ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520 ที่นำโดย พล.อ.ฉลาด หิรัญสิริ พล.ต.มนูญกฤตซึ่งในขณะนั้นเป็นผู้บังคับบัญชาการกองพันทหารม้าที่ 4 รักษาพระองค์ (ม.พัน 4 รอ.) ได้นำรถถังออกมาต่อต้านการรัฐประหาร ปรากฏว่าฝ่าย พล.อ.ฉลาดเป็นฝ่ายพ่ายแพ้และกลายเป็นกบฏ

ต่อมาในรัฐบาล พล.อ.เปรม ติณสูลานนท์ พล.ต.มนูญกฤตเป็นผู้มีส่วนสำคัญในการกระทำรัฐประหารถึง 2 ครั้ง แต่ไม่สำเร็จ คือ กบฏเมษาฮาวาย ระหว่างวันที่ 1-3 เมษายน พ.ศ. 2524 ทำให้ต้องหลบหนีออกนอกประเทศ และถูกถอดยศทางทหาร ซึ่งในขณะนั้นมียศ พันเอก (พ.อ.) และอีกครั้งเมื่อวันที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 หรือ กบฏ 9 กันยา ได้ร่วมมือกับ พล.อ.อ.มนัส รูปขจร น้องชายของตนซึ่งขณะนั้นมียศ นาวาอากาศโท (น.ท.) และดำรงตำแหน่งผู้บังคับบัญชาหน่วยบัญชาการอากาศโยธิน (อย.) นำกองกำลังและรถถังออกปฏิบัติการ แต่ไม่สำเร็จ ทำให้ต้องหลบหนีอีกครั้ง

ก่อนจะกลับมาสู้คดีในปี พ.ศ. 2531 ซึ่งรวมถึงคดีวันลอบสังหารด้วย พร้อมกับได้เปลี่ยนชิ่อมาเป็น มนูญกฤต เช่นในปัจจุบัน ต่อมาได้รับพระราชทานอภัยโทษ จึงได้คืนยศทางทหาร และคดีวันลอบสังหารศาลได้สั่งยกฟ้อง ด้วยความช่วยเหลือของ พล.ต.สนั่น ขจรประศาสน์ ซึ่งหันมาเล่นการเมืองแล้วในขณะนั้น

จนกระทั่งในวันที่ 4 มีนาคม ปี พ.ศ. 2543 ได้ลงเลือกตั้งเป็นวุฒิสภาชิกจังหวัดสระบุรี ได้รับเลือกตั้ง และได้รับเลือกให้เป็นประธานวุฒิสภา

ในการขับไล่ พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร ให้ลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีของทางกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยในต้นปี พ.ศ. 2549 พล.ต.มนูญกฤตในฐานะอดีตประธานวุฒิสภาได้ขึ้นเวทีในรายการ "รู้ทันประเทศไทย" ของ ดร.เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง แฉถึงพฤติกรรมของ พ.ต.ท.ทักษิณที่มีต่อสมาชิกวุฒิสภาในระหว่างดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีด้วย ก่อนที่จะลงสมัครเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรระบบสัดส่วนเขตที่ 7 ของพรรคประชาธิปัตย์ ในการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม พ.ศ. 2550 ได้รับเลือกตั้งเข้ามา แต่ได้ลาออกในวันที่ 24 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 ซึ่งตรงกับวันที่กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตยได้บุกยึดสนามบินดอนเมืองและสนามบินสุวรรณภูมิ ในการชุมนุมยืดเยื้อ 193 วัน ซึ่ง พล.ต.มนูญกฤตได้ให้เหตุผลในการลาออกครั้งนั้นว่าเพราะ สุขภาพไม่ดี

ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2552 ร.ต.อ.เฉลิม อยู่บำรุง ประธาน ส.ส.พรรคเพื่อไทย ซึ่งทำหน้าที่ฝ่ายค้าน ได้ออกมาเปิดเผยว่า พล.ต.มนูญกฤต เป็นผู้ให้ข้อมูลตนเกี่ยวกับประเด็นเงินบริจาค 258 ล้านบาท ที่บริษัททีพีไอ บริจาคให้แก่พรรคประชาธิปัตย์ด้วยวิธีการที่มิชอบ ซึ่งอาจนำไปสู่การยุบพรรคและทางฝ่ายค้านก็ได้นำข้อมูลนี้เป็นหัวข้อในการอภิปรายไม่ไว้วางใจรัฐบาลด้วย

ปัจจุบัน พล.ต.มนูญกฤตยังจบการศึกษาในระดับปริญญาโทสาขาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์


 

 

รับจำนำรถยนต์ รับจำนำรถจอด

แรง (ฟิสิกส์) ความยาว การเคลื่อนที่ ทฤษฎีเคออส กลศาสตร์แบบลากรางช์ เอนริโก แฟร์มี สมมาตรยิ่งยวด CERN Large Hadron Collider ไอน์สไตน์ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป กาลิเลโอ ฟิสิกส์อนุภาค วิศวกรรมวัสดุ เซมิคอนดักเตอร์ นาโนเมตร วัสดุนาโน วัสดุฉลาด วัสดุเชิงก้าวหน้า วัสดุชีวภาพ พอลิเมอร์ เซรามิก สเปกโตรสโกปี อุณหเคมี ไฟฟ้าเคมี เคมีเชิงฟิสิกส์ โลหะอินทรีย์เคมี เคมีพอลิเมอร์ เคมีนิวเคลียร์ ชีววิทยาโมเลกุล เคมีเวชภัณฑ์ เคมีดาราศาสตร์ เคมีไคเนติกส์ สารประกอบอนินทรีย์ สารประกอบเคมี สารประกอบ John Dalton ทฤษฎีโฟลจิสตัน อ็องตวน ลาวัวซีเย Robert Boyle ปฏิกิริยาเคมี รายชื่อคณะวิทยาศาสตร์ในประเทศไทย เคมีสิ่งแวดล้อม วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม Social psychology วิทยาศาสตร์สังคม เทคนิคการแพทย์ เวชศาสตร์ พยาธิวิทยา เนื้องอกวิทยา ทัศนมาตรศาสตร์ Pharmacy บรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์ วิทยาศาสตร์พุทธิปัญญา สารสนเทศศาสตร์ วิทยาการสารสนเทศ สัตววิทยา วิทยาไวรัส ประสาทวิทยาศาสตร์ อณูชีววิทยา จุลชีววิทยา วิทยาภูมิคุ้มกัน มีนวิทยา มิญชวิทยา กีฏวิทยา Developmental biology วิทยาเซลล์ ชีววิทยาของเซลล์ วิทยาแผ่นดินไหว ชลธารวิทยา สมุทรศาสตร์ เคมีความร้อน เคมีไฟฟ้า เคมีการคำนวณ เคมีวิเคราะห์ Particle physics พลศาสตร์ของไหล พลศาสตร์ สวนศาสตร์ ฟิสิกส์เชิงทฤษฎี โป๊ป ความเรียง เรอเน เดส์การตส์ การสังเกต การทดลอง ฟรานซิส เบคอน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ความรู้เชิงประจักษ์ คณิตตรรกศาสตร์ เครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย ไม้บรรทัด กระดูกนาเปียร์ ลูกคิด การแข่งขันคณิตศาสตร์ รางวัลอาเบล เหรียญฟิลด์ส ปัญหาของฮิลแบร์ท กลุ่มความซับซ้อน พี และ เอ็นพี ข้อความคาดการณ์ของปวงกาเร สมมติฐานความต่อเนื่อง

 

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
60
61
62
63
64
65
66
67
68
69
70
71
72
73
74
75
76
77
78
79
80
81
82
83
84
85
86
87
88
89
90
91
92
93
94
95
96
97
98
99
100
101
102
103
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
114
115
116
117
118
119
120
121
122
123
124
125
126
127
128
129
130
131
132
133
134
135
136
137
138
139
140
141
142
143
144
145
146
147
148
149
150
151
152
153
154
155
156
157
158
159
160
161
162
163
164
165
166
167
168
169
170
171
172
173
174
175
176
177
178
179
180
181
182
183
184
185
186
187
188
189
190
191
192
193
194
195
196
197
198
199
200
201
202
203
204
205
206
207
208
209
210
211
212
213
214
215
216
217
218
219
220
221
222
223
224
225
226
227
228
229
230
231
232
233
234
235
236
237
238
239
240
241
242
จำนำรถราชบุรี รถยนต์ เงินด่วน รับจำนำรถยนต์ จำนำรถยนต์ จำนำรถ 24187